จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อสหภาพยุโรป (EU) ให้ 4 บริษัทไอทียักษ์ใหญ่อย่าง Facebook, Twitter, Google และ Microsoft เข้มงวดกวดขันเรื่อง Hate Speech มากขึ้น
Search #lab
ทุกวันนี้ สิ่งที่เคยพูดได้กลับพูดไม่ได้ พร้อมกันก็ดูเหมือนว่าเราจะมีสิ่งที่พูดได้น้อยลงเรื่อยๆ—เกิดอะไรขึ้นกับสังคมของเรากันแน่ และปรากฏการณ์นี้กำลังจะพาเราไปสู่สังคมแบบไหน
ในยุคที่เรารับข่าวสารผ่านทางโซเชียลมีเดีย เจ้าของแพลตฟอร์มมีอำนาจมากกว่าสื่อ เพราะสามารถเลือกที่จะ 'แสดง' อะไรออกมาโดยผู้ใช้ไม่รู้ว่าเป็นการ 'เลือกแสดง' นั่นนำมาซึ่งคำถามแสนสำคัญว่า หากเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ และกูเกิลเลือกจะ 'บันดาล' ผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ที่กำลังจะถึง มันมีอำนาจพอที่จะทำไหม และมีกฎระเบียบหรืออำนาจใดที่คานอิทธิพลของซิลิคอนวัลเลย์อยู่หรือเปล่า
การได้เดินทางไปยังประเทศที่ ‘ไร้อินเทอร์เน็ตโดยสิ้นเชิง’ นั้นเป็นประสบการณ์อันเป็นเอกลักษณ์ ผู้เขียนจึงได้ถอดบทเรียนส่วนตัวจากประสบการณ์นี้มาเล่าให้ฟัง
ในช่วงเวลาที่เกิดเรื่องเลวร้ายขึ้นในสังคม มาหาคำตอบกันว่าทำไมเราจึงต้องแสดงออกถึงความดีงามทางศีลธรรมกันบนอินเทอร์เน็ตมากมายขนาดนี้
ข่าวขนส่งทางบก จับมือกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ฯ ขอให้ GrabBike ยุติการให้การบริการทันที แสดงให้เห็นถึงการปะทะกันของอำนาจอย่างไร
เป็นไปได้ไหมว่า Reactions ของ Facebook ที่มากขึ้นนั้นได้ ‘จำกัด’ อารมณ์ของเราไปพร้อมๆ กันด้วย
อัพเดทข่าวเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และหุ่นยนต์ว่าตอนนี้เราไปถึงไหนกันแล้ว
จับตามองการเติบโตของ Amazon ร้านออนไลน์สู่ร้านที่สัมผัสได้ที่ต่อไปจะขายสารพัดสิ่ง
ระบบปัญญาประดิษฐ์ของกูเกิลเอาชนะเกมที่เคยมีคนบอกว่า ‘ซับซ้อนเกินกว่าที่ปัญญาประดิษฐ์จะจัดการได้’ อย่างโกะได้แล้ว
จีนมีความพยายามล่าสุดที่จะควบคุมพฤติกรรมของประชาชนของตัวเองอยู่ในทุกอณู ด้วยการ ‘ให้คะแนนพลเมืองดี’ ต่อพฤติกรรมบนอินเทอร์เน็ต การสอดส่องควบคุมครั้งนี้กำลังบอกอะไรแก่เราบ้าง
เรามักประสบกับความเชื่อที่ว่า ‘อินเทอร์เน็ตน่ะก็ดีนะ แต่มักจะทำให้คนห่างไกลกันมากขึ้น’ อยู่บ่อยๆ มีงานศิลปะ การ์ตูน ภาพถ่าย ที่แสดงความเชื่อทำนองนี้ออกมามากมายจนเฝือ แต่คำถามคือมันเป็น ‘ความเชื่อ’ ที่เป็น ‘ความจริง’ หรือเปล่า?
พักหลังมานี้ เทคโนโลยีได้เชื่อมโยงธุรกิจต่างวงการกับลูกค้า ด้วยวิธีการแบบ UBER คำถามที่น่าสนใจคือ ระบบเศรษฐกิจแบบนี้จะเปลี่ยนแปลงโลกและวิถีการทำงานไปอย่างไร
การกลั่นแกล้งกันนั้นอยู่ในทุกที่ สื่อที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดอย่างโซเชียลเน็ตเวิร์กก็อาจทำให้เราทุกคนกลายเป็นเหยื่อรายใหม่ของโลกออนไลน์ได้ทุกเมื่อ
โซเชียลเน็ตเวิร์กเปิดพื้นที่ใหม่ๆ ที่อาจทำให้อารมณ์ของคนมาปะทะกันโดยไม่ทันได้ตั้งตัว การสร้าง ‘เกราะกำบัง’ ขึ้นมาเพื่อรักษาสภาพจิตใจให้เป็นปกติจึงจำเป็นอย่างยิ่ง และนี่เป็นหนึ่งในวิธีที่น่าสนใจ
ศึกษาวิธีแก้ไขปัญหาหน้าม้าอย่างยั่งยืนในแบบของ amazon อาจทำให้เราเห็นวิธีใหม่ๆ เพื่อแก้ไขสถานการณ์แอบอวยในบ้านเราก็เป็นได้
ในยุคนี้เรามักตัดสินใจในเรื่องต่างๆ โดยใช้การรีวิวบนอินเทอร์เน็ตเป็นฐานคิด เราได้เห็นทั้งแอพพลิเคชั่นรีวิวร้านอาหาร การท่องเที่ยว คอร์สเรียน และรีวิวสิ่งอื่นๆ แต่โลกที่ขับเคลื่อนด้วยการรีวิว ให้ดาว ความคิดเห็นบวกลบเช่นนี้ มีเส้นแห่งความเหมาะสมขีดไว้ไหม?