สวัสดีสวีดัดค่า พบกันอีกเช่นเคย วันนี้ขอไม่พูดพร่ำทำเพลง แล้วมาเข้าสู่หัวข้อประจำวันกันเลยค่า
วันนี้เราจะมานำเสนอลักษณะเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นบางประการให้ทุกท่านได้อ่านกันนะคะ ครั้งนี้มีอยู่ สองหัวข้อใหญ่ ๆ ที่จะหยิบมาเขียนซึ่งก็คือ 動詞 และ 内・外の関係 นั่นเองค่า
คำกริยาในภาษาญี่ปุ่นถือว่าเป็นส่วนสำคัญของประโยคเลยก็ว่าได้ และด้วยโครงสร้างประโยคของภาษาญี่ปุ่นนั้นมีโครงสร้างแบบ SOV เพราะฉะนั้นเวลาจะฟังจับใจความภาษาญี่ปุ่นจึงต้องใส่ใจที่ท้ายประโยคเป็นพิเศษเพื่อที่จะเข้าใจใจความของประโยคนั้น ๆ ได้ค่ะ
(note:ก่อนหน้านั้นเราเคยเรียนภาษาเยอรมันมาก่อน (แต่ตอนนี้สนิมขึ้นแล้วค่ะ เราว่ามันยากกว่าญี่ปุ่นอีก;;;____;;;) ตัวภาษาเยอรมันนั้นมีโครงสร้าง SOV เช่นเดียวกับภาษาญี่ปุ่น อาจารย์ที่เคยสอนให้เราเคยพูดในคาบเหมือนกันว่าเวลาเราจะฟังภาษาเยอรมันต้องรอให้คนพูด ๆ จบก่อนเพราะใจความหลักอยู่ที่ท้ายประโยค ถ้าใครที่เคยเรียนญี่ปุ่นมาก็น่าจะเอาจุดนี้มาปรับใช้และ”อาจจะ”เข้าใจโครงสร้างภาษาเยอรมันได้ง่ายขึ้นนะคะ...555)
นอกจากนี้แล้วกริยาในภาษาญี่ปุ่นยังมีการผันหลายรูปแบบเลยค่ะ ยกตัวอย่างเช่น
飲む
飲みました
飲まない
飲んだ
飲んでいる
飲めるpotential
飲ませるcausative
飲まれるpassive
飲むだろうconjectural
飲もうintention
ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างว่าการผันกริยาเพื่อเปลี่ยนความหมายนั้นมีหลายรูปแบบมากและที่น่าทึ่งคือเรายังสามารถนำแต่ละรูปมาประกอบใช้ร่วมกันได้ด้วย
「飲まされなかったはずだ」=
ซึ่งรูปแบบภาษาที่เอาหลายๆ ส่วนมาประกอบเข้าเป็นรูปเป็นร่างแบบข้างต้นเนี่ย เขาเรียกว่า “Agglutinative language* ”
*เพิ่มเติม* ภาษาในโลกเรานี้แบ่งลักษณะรูปแบบออกเป็น4 รูปแบบ เรียกว่าการแบ่งแบบ Morphological method ได้แก่Inflectional Language, Agglutinative Language, Polysyllabic Language, Isolating Language
ส่วนภาษาไทยเราเป็นภาษาประเภท
ญี่ปุ่น-
ไทย-กินข้าว "แล้ว"
จะเห็นได้ว่าภาษาญี่ปุ่นจะเปลี่ยนรูปคำกริยา ส่วนภาษาไทยเติมแค่คำว่า "แล้ว" ก็ได้ใจความเดียวกันกับ 食べました
連体詞
1 ) เมื่อ
เช่น
きのう読んだ本
ทั้งสองตัวอย่างนี้สามารถพลิกประโยคกลับได้โดยนำ
人は廊下で走っている
きのう本を読んだ
2 ) เมื่อ
เช่น
さんまを焼いているにおいがす
อย่างไรก็ตาม
วันนี้ก็มีแบบฝึกหัดเล็กๆ น้อย ๆ มาฝากนิดนึงค่ะ
มาทายกันว่าอันไหนเป็น
1きのう描いた姉の似顔絵
2 明日友達とプレイするゲーム
3 親に教えない理由
เฉลย...
ค่ะ ก็หมดแล้วนะคะสำหรับคอนเท้นต์วันนี้ จากที่เราเรียนรู้มาก็ทำให้ทราบว่าความแตกต่างทางภาษาในเรื่องไวยากรณ์นั้นเป็นอุปสรรคหลัก ๆ ในการเรียนรู้ภาษาใด ภาษาหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ถ้าเราพยายามซะอย่างมันก็ไม่ยากเกินความสามารถแน่นอนค่ะ หากเราเข้าใจประเด็นนี้และฝึกการใช้คำในลักษณะดังกล่าวให้ชินก็น่าจะทำให้เราภาษาได้อย่างเป็นธรรมชาติมากขึ้นค่า
แล้วพบกันรอบหน้าค่า สวัสดีค่า^___^
https://www.anlp.jp/proceedings/annual_meeting/
เข้าสู่ระบบเพื่อแสดงความคิดเห็น
Log in